welcome

welcome

วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปครั้งที่ 2

       
          วิทยาศาสตร์ในระดับอนุบาลมีจุดมุ้งหมายเพื่อสืบค้นวิธีการสอนไปพร้อมๆกับการช่วยให้เด้กเข้าใจพื้นฐานของกระบวนการวิทยาศาสตร์และวิธีการตรวจสอบความรู้ที่ถูกต้อง  โดยการจัดการเรียนการสอนที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง  และพยายามเปิดโอกาสให้เด็กมีปฎิสัมพันธ์กับโลกรอบตัวของเด็กและสร้างประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้สึกว่าตนเองเข้าไปถึงธรรมชาติ

          ความหมายของวิทยาศาสตร์
          พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ( 2545 : 744 ) ได้ให้ความหมายวิทยาศาสตร์ว่า " ความรู้ที่ได้จากการสังเกตและค้นคว้าได้จาการประจักษ์ทางธรรมชาติ และจัดเข้าเป็นระเบียบหรือวิชาที่ค้นคว้าได้จากหลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ
          จึงกล่าวได้ว่า  วิทยาศาสตร์หมายถึง  การศึกษาเรื่องสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติโดยทั่วไปประกอบด้วยตัวความรู้และกระบวนการที่ใช้การค้นหาความรู้อย่างมีระบบ  เพื่อนำมาปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์

          การปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลย์ระหว่างอินทรืแและสิ่งแวดล้อมการดูดซึมเพื่อรับประสบการณ์ใหม่
          -  การปรับโครงสร้างเป็นการปรับโครงสร้างเดิมให้สอดคล้องเหมาะสมกับประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับเข้ามา
          -  การปรับแนวคิดและพฤติกรรมจะทำให้เกิดภาวะสมดุลแล้วเกิดเป็นโครงสร้างทางสติปัญญาขึ้น  ( cognitive structure )

          ดังนั้น  สติปัญญาจึงเกิดจากการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล

          สรุป
          วิทยาศาสตร์ในระดับอนุบาลมีจุดมุ่งหมายเพื่อสืบค้นวิธีการในการสอนไปพร้อมๆ
กับการช่วยให้เด็กเข้าใจพื้นฐานของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  เเละวิธีวิธีตรวจสองที่ถูกต้อง โดยการจัดการเรียนการสอนที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง

          กลุ่มที่ 4 คือกลุ่มของดิฉันเอง  เรื่องการพัฒนาการเรียนรู้
       
          กลุ่มที่ 3 คือ เรื่องพัฒนาการของเด็ก
                        - การปฏิสัมพันกับสิ่งต่างๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และความสมดุลระหว่างบุคคล / กระบวนการเรียนรู้ 2 กระบวนการ
                         1. กระบวนการดูดซึม
                         2. กระบวนการปรับโครงสร้าง

          กลุ่มที่ 1 ความหมายวิทยาศาสตร์ที่ใช้หลักและเหตุผลมาอ้างอิงและสามารถพิสูจน์ได้จากการสังเกตและการทดลองสิ่งรอบตัวอย่างมีระบบแบบแผน
       
         กลุ่มที่  6 ความเหมาะสมทักษะ การปฏิบัติฝึกฝนกระบวนการทางความคิดและการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์จนเกิดความชำนาญ  แบ่งได้ 2 ระดับ
                        1.  กระบวนการพื้นฐาน  เช่น สังเกต จัด จำแนก ความสำคัญ ความชำนาญ จัดทำข้อมูลสื่อความหมาย ลงความเห็นพยากรณ์
                        2.  กระบวนผสม มีตั้งสมมุติฐาน กำหนดนิยาม คำคุมตัวแปร ทดลอง ตีความ และสรุป  กระบวนการที่ชัดเจนและมีกระบวนแบบแผน

         
          กลุ่มที่ 5  เรื่องแนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
                         เกรกให้แนวคิด 5 ประการ
                         1. ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สอนให้รู้จักเวลา น้ำหนักตัว
                         2. ความแตกต่าง สิ่งต่างๆ มีความเหมือนความแตกต่าง ให้เด็กมีความรู้จักสังเกต
                         3. การปรับตัว ให้เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัว
                         4. การพึ่งพาอาศัย สอนให้รู้ถึงธรรมชาติให้เด็กรู้จักปรับตัวได้ เช่น คนเก็บเงิน
                         5. ความสมดุล ให้เข้าใจธรรมชาติ  เช่น ปลาอยู่ในน้ำเพื่อรักษาความสมดุล

          กลุ่มที่ 2  ความสำคัญทางวิทยาศาสตร์
                         มีความสำคัญ คือ ช่วยให้การนำไปพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และให้มนุษย์ได้คิดค้นพัฒนาความคิดให้ดียิ่งขึ้น





วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปครั้งที่ 1

          วันนี้เป็นวันเปิดเรียนวันแรก อาจารย์ได้ตกลงกฎกติกาในห้องเรียน  และได้คุยเรื่อง blogger ว่าเทอมนี้ต้องทำอะไรบ้าง ต้องมีอะไรใน blogger  ประวัติส่วนตัวต้องเป็นภาษาอังกฤษ  และชื่อเพื่อนก็ต้องเป็นภาษาอังกฤษ
          การสร้าง blogger
          1. ชื่อและคำอธิบาย
          2. รูปและข้อมูล
          3. ปฏิทินและนาฬิกา
          4. เชื่อมโยงกลับ blog อาจารย์
       
          สาระที่ต้องนำมาสอนมาจากไหน หลักสูตร สื่อ
          1. คุณธรรมจริยธรรม
              - ซื่อสัตย์
              - ตรงต่อเวลา
          2. ความรู้
          3. ทักษะทางปัญญา
          4. ทักษะทางปัญญา
          5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
              - ใช้เทคโนโลยีในการเชื่อมโยง
          6. การจัดการเรียนรู้
              - วางแผน
              - เรียนรู้ร่วมกัน